อีไอซีประเมินเงินบาทยังเผชิญแรงกดดันด้านแข็งค่า คาดปี 2020 อยู่ที่29.5-30.5
- อีไอซี ประเมินเงินบาทในปี 2020 จะยังเผชิญแรงกดดันด้านแข็งค่
าอยู่ต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่น้อยลงจากปี 2019 โดยมองว่า เงินบาท ณ สิ้นปี 2020 จะอยู่ในกรอบ 29.5-30.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจาก ไทยยังต้องเผชิญปัจจัยเชิ งโครงสร้างที่ทำให้ดุลบัญชีเดิ นสะพัดยังคงเกินดุลในระดับสูง ขณะที่ความต้องการลงทุนในต่ างประเทศยังต่ำ (home bias ยังคงสูง) จึงทำให้มีความต้องการเงิ นบาทเทียบดอลลาร์สหรัฐในปริ มาณมาก อีกทั้งดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรั ฐมีโอกาสปรับอ่อนค่าลงได้เล็กน้ อยทำให้เงินบาทแข็งค่าขึ้ นโดยเปรียบเทียบ - ปัจจัยหนุนที่ช่วยให้เงิ
นบาทจะไม่แข็งค่าขึ้นเร็วมากเท่ าในปี 2019 คือ การลงทุนในต่างประเทศของภาคธุ รกิจไทยอาจมีแนวโน้มปรับดีขึ้ นบ้าง การขายทำกำไรทองคำมีแนวโน้มลดลง และส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยไทย- สหรัฐฯ ที่อาจกว้างขึ้นได้
เงินบาทในช่วงสิ้นปีที่ผ่
อีไอซี ปรับมุมมองค่าเงินบาท ณ สิ้นปี 2020 อยู่ในกรอบ 29.5-30.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (จากคาดการณ์เดิม ณ รายงาน Outlook ของไตรมาสก่อนที่ 30-31 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) โดยค่าเงินบาทในปี 2019 เฉลี่ยอยู่ที่ 31.05 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้น 4.1% จากปี 2018 ขณะที่ดัชนีค่าเงินบาท (Nominal Effective Exchange Rate: NEER) ในปี 2019 เฉลี่ยอยู่ที่ 123.2 ปรับแข็งค่าขึ้น 6.6% จากปี 2018 เช่นกัน (รูปที่ 1) สำหรับในในปี 2020 เงินบาทมีแนวโน้มเผชิญแรงกดดั
อีไอซีคาด เงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งค่าเที ยบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ จากปัจจัยดังต่อไปนี้
- ดุลบัญชีเดินสะพัดไทยในปี 2020 จะยังคงเกินดุลสูง โดยอีไอซีประเมินว่าดุลบัญชีเดิ
นสะพัดไทยในปี 2020 จะยังเกินดุลในระดับสูงใกล้เคี ยงในปี 2019 เนื่องจาก 1) มูลค่าการส่งออกและนำเข้าในปี 2020 มีแนวโน้มทรงตัวจากปีก่อน 2) ภาคการท่องเที่ยวจะยังคงขยายตั วแม้ในอัตราที่ชะลอลง และ 3) การลงทุนในประเทศจะยังอยู่ ในภาวะซบเซา จึงทำให้โดยรวมแล้ว การเกินดุลบัญชีเดินสะพั ดของไทยแม้จะชะลอลงแต่ยังคงเกิ นดุลในระดับสูงที่ประมาณ 6% ต่อ GDP (6.3% ต่อ GDP ในปี 2019) (รูปที่ 2) ขณะที่ความต้องการนำเงิ นออกไปลงทุนต่างประเทศยังมีต่ำ (Home bias ยังคงอยู่ในระดับสูง) ซึ่งจะทำให้ความต้องการเงินบาทเ มื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐยั งมีอยู่มาก นอกจากนี้ การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดในระดั บสูง เงินทุนสำรองต่อหนี้ต่ างประเทศที่มาก ก็จะยังทำให้เงินบาทมีสถานะเป็ นสินทรัพย์ปลอดภัยของภูมิภาค (regional safe haven) ต่อไป ซึ่งจะทำให้เงินบาทมีแนวโน้มอ่ อนค่าลงน้อยกว่าสกุลเงินอื่ นในภูมิภาคในช่วงที่ความเชื่อมั่ นลดลง
- ความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจโลกปรั
บลดลง ส่งผลให้เงินทุนเคลื่อนย้ายมี แนวโน้มไหลกลับเข้าสู่ตลาดเกิ ดใหม่ในเอเชีย (EM-Asia) รวมถึงไทย โดยอีไอซีมองว่า การเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนที่มีความคืบหน้า (phase 1 deal) ไปนั้น เป็นปัจจัยที่ลดความเสี่ยงด้ านต่ำของภาคส่งออกและเศรษฐกิ จโดยรวมของกลุ่มประเทศ EM-Asia อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนความเสี่ยงจากสถานการณ์ Brexit ก็ปรับดีขึ้นเช่นกัน หลังพรรค Conservative ชนะการเลือกตั้งด้วยเสียงข้ างมาก ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้ความเสี่ยงต่อเศรษฐกิ จโลกมีแนวโน้มปรับลดลงในปี 2020 ซึ่งอีไอซีมองว่า จะส่งผลให้ความเชื่อมั่นของนั กลงทุนปรับสูงขึ้น และมีเงินทุนไหลกลับเข้ากลุ่ มประเทศตลาดเกิดใหม่ได้ - ดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ มีโอกาสปรับอ่อนค่าลงได้เล็กน้
อย ส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้ นโดยเปรียบเทียบ โดยอีไอซีพบว่า ในเวลาที่เศรษฐกิจโลกปรับแย่ ลงจะทำให้มีความต้องการถือเงิ นดอลลาร์สหรัฐเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นสกุลเงินหลั กของโลกและมีความเสี่ยงต่ำ ทั้งนี้ในระยะต่อไปที่เศรษฐกิ จโลกมีแนวโน้มปรับดีขึ้น ความเสี่ยงของการเกิ ดภาวะเศรษฐกิจถดถอยของโลกลดลง ก็จะทำให้ความต้องการถือครองเงิ นดอลลาร์สหรัฐปรับลดลงมา (รูปที่ 3) ซึ่งจากข้อมูลปริมาณสัญญาที่เก็ งกำไรในเงินดอลลาร์สหรัฐก็เริ่ มสะท้อนให้เห็นแนวโน้มนี้ ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2019 บ้างแล้ว อย่างไรก็ดี อีไอซีมองว่าเงินดอลลาร์สหรั ฐจะไม่อ่อนค่าลงมากนัก เนื่องจาก ถึงแม้ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (Federal Reserve) จะมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ ยนโยบายตลอดปี 2020 (จากที่เคยมองว่ามี โอกาสลดดอกเบี้ยได้ 1 ครั้ง) แต่ธนาคารกลางสำคัญอื่น ๆ มีแนวโน้มดำเนินนโยบายการเงินที่ ผ่อนคลายกว่า โดยธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางญี่ปุ่น (Bank of Japan: BOJ) มีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ ยนโยบายในปี 2020 แต่ก็จะยังดำเนินมาตรการผ่ อนคลายทางการเงินผ่านการทำ quantitative easing (QE) ต่อไป นอกจากนี้ โอกาสที่ ECB และ BOJ จะปรับลดอัตราดอกเบี้ ยนโยบายในปี 2020 ก็มีสูงกว่า Fed ดังนั้นจึงมีโอกาสที่เงินยู โรและเงินเยนจะอ่อนค่าเมื่อเที ยบกับดอลลาร์สหรัฐได้ นอกจากนี้ ความไม่แน่ นอนของการเจรจาเขตการค้าเสรี (FTA) ระหว่างอังกฤษและยุโรปอาจทำให้ เงินยูโรและเงินปอนด์อ่อนค่ าลงเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ - ข้อจำกัดของ ธปท. ในการผ่อนคลายนโยบายการเงิน และเข้าดูแลอัตราแลกเปลี่ยน การผ่อนคลายนโยบายการเงิน เช่น การลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีส่
วนช่วยให้อัตราแลกเปลี่ ยนของประเทศนั้น ๆ อ่อนค่าลงได้ อย่างไรก็ดี ด้วยขีดความสามารถในการลดอั ตราดอกเบี้ยนโยบายของ ธปท. ที่มีจำกัดมากขึ้นจากอั ตราดอกเบี้ยที่ต่ำสุดในประวัติ การณ์ ทำให้ความสามารถในการดูแลค่าเงิ นบาทผ่านช่องทางนี้ลดลง นอกจากนี้ ไทยยังต้องเผชิญต่อความเสี่ยงที่ อาจถูกจัดเป็นประเทศผู้บิดเบื อนค่าเงิน (currency manipulator) โดยกระทรวงการคลังของสหรัฐฯ จึงทำให้ ธปท. อาจไม่สามารถดูแลค่าเงินบาทได้ มากเท่ากับในอดีต ดังนั้นโอกาสที่เงินบาทต้องเผชิ ญแรงกดดันด้านแข็งค่าจึงจะมีอยู่ ต่อไป - เงินหยวนที่มีแนวโน้มแข็งค่
าอาจทำให้ค่าเงินในภูมิภาครวมถึ งเงินบาทปรับแข็งค่าขึ้นตาม ในช่วงที่สงครามการค้าทวีความรุ นแรง เงินหยวนปรับอ่อนค่าลงค่อนข้ างมาก ทำให้สินค้าจีนมีความได้เปรี ยบในการแข่งขันด้านราคาต่ อประเทศอื่น ซึ่งส่งผลต่อแนวโน้มการส่ งออกและเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้ าคู่แข่งของจีน ค่าเงินสกุลเงินอื่น ๆ ในภูมิภาคโดยเฉพาะประเทศที่ส่ งออกสินค้าคล้ายคลึงกับจีนจึ งปรับอ่อนค่าลงตาม ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาก็พบว่าเงิ นบาทปรับอ่อนค่าตามหยวนในช่ วงสงครามการค้าทวีความรุนแรงเช่ นกัน อย่างไรก็ดี สำหรับในระยะต่อไปที่ สงครามการค้ามีแนวโน้มลดความรุ นแรงลง ความเชื่อมั่นของนักลงทุนโลกมี แนวโน้มปรับสูงขึ้น จึงทำให้เงินหยวนมีแนวโน้มแข็ งค่าขึ้น และด้วยเสถียรภาพต่ างประเทศของไทยที่แข็งแกร่งจะยิ่ งทำให้เงินบาทสามารถแข็งค่าขึ้ นตามเช่นกัน
อย่างไรก็ดี อีไอซีประเมินว่า การแข็งค่าของเงินบาทในปี 2020 จะลดน้อยลงเมื่อเทียบกับปี 2019 เนื่องจาก
- ดุลบัญชีการเงินไทย (financial account) อาจขาดดุลมากขึ้นได้เล็กน้อย จากแนวโน้มการออกไปลงทุนต่
างประเทศที่เพิ่มสูงขี้นในช่ วงห้าปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี 2015) อีไอซีคาดว่า ในปี 2020 มีโอกาสที่ภาคธุรกิ จไทยจะออกไปลงทุนต่ างประเทศมากขึ้น โดยปัจจัยสนับสนุนให้ ภาคเอกชนออกไปลงทุนต่ างประเทศมากขึ้น ส่วนหนึ่งจะมาจากอัตราการเติ บโตของเศรษฐกิจไทยที่ยังอยู่ ในระดับต่ำเมื่อเทียบกั บประเทศอื่นในภูมิภาค รวมถึงความไม่แน่ นอนภายในประเทศที่ยังมีค่อนข้ างมาก นอกจากนี้ การผ่อนคลายกฎเกณฑ์การออกไปลงทุ นของ ธปท. น่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้ ภาคธุรกิจไทยมีแนวโน้มออกไปซื้ อ/ควบรวมกิจการต่างประเทศ รวมถึงช่วยให้การลงุทนในหลักทรั พย์ต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างค่ อยเป็นค่อยไปได้ อีไอซี จึงประเมินว่าดุลบัญชีการเงิ นไทยอาจขาดดุลมากขึ้น ซึ่งจะช่วยลดแรงกดดันต่อเงิ นบาทผ่านการเกินดุลการชำระเงิน (balance of payment) ที่ลดลง - แรงกดดันจากการขายทำกำไรทองคำมี
แนวโน้มลดลง ในช่วงที่เศรษฐกิจโลกเผชิญกั บความเสี่ยงที่สูงขึ้น ความเชื่อมั่นของนักลงทุนปรั บลดลง (risk-off sentiment) และหันไปถือครองสินทรัพย์ปลอดภั ย เช่น ทองคำ มากขึ้น ราคาทองคำจึงปรับสูงขึ้นในช่ วงดังกล่าว ซึ่งนักลงทุนทองคำในไทยบางส่ วนมักจะขายทองคำออกสู่ ตลาดทองคำโลกเพื่ อทำกำไรจากราคาที่ปรับขึ้น ทำให้มีความต้องการแลกเงิ นดอลลาร์สหรัฐที่ได้ จากการขายทองคำกลับมาเป็นเงิ นบาท ค่าเงินบาทจึงมักปรับแข็งค่าขึ้ นในช่วงดังกล่าวเช่นกัน อย่างไรก็ดี ในช่วงที่ความเสี่ยงของเศรษฐกิ จโลกมีแนวโน้มปรับลดลงในปีหน้า การเพิ่มขึ้นของราคาทองคำอาจมี แนวโน้มชะลอลงหรือปรับลดลงได้ (รูปที่ 4) จึงทำให้แรงกดดันต่อเงิ นบาทจากปัจจัยนี้มีน้อยลง นอกจากนี้ การผ่อนคลายกฎเกณฑ์ด้ านการแลกเปลี่ยนเงินของ ธปท. ที่อนุญาตให้ผู้ค้ าทองคำสามารถเก็บเงินตราต่ างประเทศจากการขายทองคำไว้ในบั ญชี FCD โดยไม่ต้องแลกเป็นบาทเพื่ อรอลงทุนในครั้งต่อไป จะช่วยลดแรงกดดันด้านแข็งค่ าของเงินบาทในปีหน้าได้เพิ่มขึ้ น - แนวโน้มส่วนต่างอัตราดอกเบี้
ยนโยบายระหว่ างไทยและประเทศเศรษฐกิจหลัก หากเศรษฐกิจไทยปรับแย่ลงกว่าที่ กนง. คาดจนทำให้ต้องมีการลดอั ตราดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มเติมเพื่ อพยุงเศรษฐกิจ ก็จะทำให้อัตราผลตอบแทนพันธบั ตรรัฐบาลระยะสั้นของไทยยิ่งปรั บลดลงต่ำกว่าพันธบัตรรัฐบาลสหรั ฐฯ ทำให้มีโอกาสที่นักลงทุนอาจเลื อกออกไปลงทุนในสินทรัพย์ ประเทศอื่นที่มีผลตอบแทน (carry return) สูงกว่า เงินทุนเคลื่อนย้ายที่คาดว่ าอาจไหลเข้าไทยได้ก็อาจมีน้ อยลงหรืออาจมีการไหลออก เงินบาทจึงอาจอ่อนค่าได้ อย่างไรก็ดี การศึกษาของอีไอซีที่ผ่านมาพบว่ า ปัจจัยด้านส่วนต่างอัตราดอกเบี้ ยมีผลต่อค่าเงินบาทเพียงเล็กน้ อย และมีอิทธิพลน้อยกว่าปัจจัยเชิ งโครงสร้าง เช่น ขนาดดุลบัญชีเดินสะพัด
โดยสรุป อีไอซี ประเมินเงินบาทในปี 2020 จะยังเผชิญแรงกดดันด้านแข็งค่